Untitled Document
บรรยายสรุปจังหวัดภูเก็ต
บรรยายสรุปจังหวัดภูเก็ต

บทที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด
  ความเป็นมา
  ขนาดพี้นที่และเขตการปกครอง
  ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
  การปกครอง ประชากร
  การประกอบอาชีพ
  การเลือกตั้ง
         
 สมาชิกวุฒิสภา
          สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

          
การเลือกตั้งท้องถิ่น
          การออกเสียงประชามติ


บทที่ 2 ด้านสังคม
  การศึกษา การสาธารณสุข
  ศาสนา
  ยาเสพติด
  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
  สวัสดิการสังคม
  แรงงานต่างด้าวในจังหวัดภูเก็ต    สาธารณภัย
  ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้

บทที่ 3 สภาพทางเศรษฐกิจ
 
ภาวะเศรษฐกิจการค้า
   แนวโน้มการท่องเที่ยวในช่วงกลางปี 2553
  ด้านแรงงาน
  ด้านอุตสาหกรรม
   ชุมชนและการรวมกลุ่ม
   เกษตรกร
  การเกษตรกรรม
  โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
 
บทที่ 4 โครงสร้างพื้นฐาน
   คมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน
   ป่าไม้
   การชลประทาน
   โครงการโครงสร้างพื้นฐาน

บทที่ 5 การพัฒนาจังหวัด
   ปัญหาและความต้องการ
   การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 
   กรอบการดำเนินงาน
  ทิศทางการพัฒนา
   ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
   ยุทธศาสตร์ที่ 1
   ยุทธศาสตร์ที่ 2
   ยุทธศาสตร์ที่ 3
   ยุทธศาสตร์ที่ 4  
   โครงการและงบประมาณ 2553

    

 สารบัญ
 
บทที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด
 บทที่ 2 ด้านสังคม
 บทที่ 3 สภาพทางเศรษฐกิจ
 บทที่ 4 โครงสร้างพื้นฐาน
 บทที่ 5 การพัฒนาจังหวัด

การเกษตรกรรม
 
     ลักษณะการเกษตรกรรม โดยทั่วไปของจังหวัดภูเก็ต ประชากรที่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา รองลงมาปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น และปลูกพืชผักตามลำดับ ปรากฏตามตารางที่ 11-15

ตารางที่ 11 แสดงลักษณะการเกษตรกรรม โดยทั่วไปของจังหวัด ได้แก่ จำนวนพื้นที่ทำการเกษตรกรรม
ในปี พ.ศ. 2552 จังหวัด ภูเก็ต

ลำดับที่

อำเภอ

จำนวนพื้นที่ทำการเกษตรกรรม (ไร่)

1

เมืองภูเก็ต

23,532

2

กะทู้

15,524

3

ถลาง

92,853

 

รวม

131,909

ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ 12 แสดงลักษณะการเกษตรกรรม โดยทั่วไปของจังหวัด ได้แก่ จำหนวนพื้นที่ทำการเกษตรกรรม
ในปี พ.ศ. 2552 ในเขตอำเภอ เมืองภูเก็ต

ลำดับที่

ลักษณะการเกษตรกรรมโดยทั่วไปของจังหวัด

จำนวนพื้นที่ทำการเกษตรกรรม (ไร่)

1

ไม้ดอกไม้ประดับ

4

2

พืชผัก

729

3

สวนยาง

15,672

4

ไม้ผลไม้ยืนต้น

7,127

 

รวม

23,532

ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ 13 แสดงลักษณะการเกษตรกรรม โดยทั่วไปของจังหวัด ได้แก่ จำนวนพื้นที่ทำการเกษตรกรรม
ในปี พ.ศ. 2552 ในเขตอำเภอกะทู้

ลำดับที่

ลักษณะการเกษตรกรรมโดยทั่วไปของจังหวัด

จำนวนพื้นที่ทำการเกษตรกรรม (ไร่)

1

ไม้ดอกไม้ประดับ

30

2

พืชผัก

1,325

3

สวนยาง

10,104

4

ไม้ผลไม้ยืนต้น

4,065

 

รวม

15,524

ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ 1 4 แสดงลักษณะการเกษตรกรรม โดยทั่วไปของจังหวัด ได้แก่ จำนวนพื้นที่ทำการเกษตรกรรม
ในปี พ.ศ. 2552 ในเขตอำเภอกะทู้

ลำดับที่

ลักษณะการเกษตรกรรมโดยทั่วไปของจังหวัด

จำนวนพื้นที่ทำการเกษตรกรรม (ไร่)

1

ทำนา

128

2

ไม้ดอกไม้ประดับ

168

3

พืชผัก

1,855

4

พืชไร่

1,262

5

สวนยาง

75,388

6

ไม้ผลไม้ยืนต้น

14,052

 

รวม

92,85

ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต

ตารางที่ 15 แสดงจำนวนครัวเรือนในภาคเกษตรกรรม รายอำเภอ
ในปี พ.ศ. 2553 จังหวัด ภูเก็ต

ลำดับที่

อำเภอ

จำนวนครัวเรือนในภาคเกษตรกรรม
(ครัวเรือน)

1

เมืองภูเก็ต

1,157

2

กะทู้

732

3

ถลาง

2,468

 

รวม

  4,357

ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต

หมายเหตุ : สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต โทร 0 7621 2188


 

                                                              

จัดทำโดย: กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดภูเก็ต    โทรศัพท์ 076 360700 ต่อ 68052