Untitled Document
บรรยายสรุปจังหวัดภูเก็ต
บรรยายสรุปจังหวัดภูเก็ต

บทที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด
  ความเป็นมา
  ขนาดพี้นที่และเขตการปกครอง
  ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
  การปกครอง ประชากร
  การประกอบอาชีพ
  การเลือกตั้ง
         
 สมาชิกวุฒิสภา
          สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

          
การเลือกตั้งท้องถิ่น
          การออกเสียงประชามติ


บทที่ 2 ด้านสังคม
  การศึกษา การสาธารณสุข
  ศาสนา
  ยาเสพติด
  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
  สวัสดิการสังคม
  แรงงานต่างด้าวในจังหวัดภูเก็ต    สาธารณภัย
  ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้

บทที่ 3 สภาพทางเศรษฐกิจ
 
ภาวะเศรษฐกิจการค้า
   แนวโน้มการท่องเที่ยวในช่วงกลางปี 2553
  ด้านแรงงาน
  ด้านอุตสาหกรรม
   ชุมชนและการรวมกลุ่ม
   เกษตรกร
  การเกษตรกรรม
  โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
 
บทที่ 4 โครงสร้างพื้นฐาน
   คมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน
   ป่าไม้
   การชลประทาน
   โครงการโครงสร้างพื้นฐาน

บทที่ 5 การพัฒนาจังหวัด
   ปัญหาและความต้องการ
   การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 
   กรอบการดำเนินงาน
  ทิศทางการพัฒนา
   ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
   ยุทธศาสตร์ที่ 1
   ยุทธศาสตร์ที่ 2
   ยุทธศาสตร์ที่ 3
   ยุทธศาสตร์ที่ 4  
   โครงการและงบประมาณ 2553

    

 สารบัญ
 
บทที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด
 บทที่ 2 ด้านสังคม
 บทที่ 3 สภาพทางเศรษฐกิจ
 บทที่ 4 โครงสร้างพื้นฐาน
 บทที่ 5 การพัฒนาจังหวัด

ด้านพาณิชยกรรม

สรุปภาวะเศรษฐกิจการค้าจังหวัดภูเก็ต ประจำปี 2552 และแนวโน้มปี 2553



โครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ตปี  2551

ผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาประจำปี 2551 65,740 ล้านบาท
รายได้เฉลี่ยต่อหัว 224,275 บาท/คน/ปี อันดับที่ 10 ของประเทศ
อันดับที่ 1 ของภาคใต้

    โครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดภูเก็ต
โครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ตขึ้นอยู่กับการท่องเที่ยวเป็นหลัก พิจารณาจากผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภูเก็ต ณ ปี 2551 พบว่าสาขาการผลิตที่มีสัดส่วนสูงสุด คือ สาขาโรงแรมและภัตตาคาร สาขาการขนส่งและคมนาคม และสาขาค้าส่งค้าปลีก สัดส่วนร้อยละ 38.92 14.12 และ 10.54 ตามลำดับ

ภาวะเศรษฐกิจการค้าของจังหวัดภูเก็ต ในปี 2552 ชะลอตัว โดยพิจารณาได้จากภาคอุปทานด้านการท่องเที่ยวซึ่งเป็นภาคเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดชะลอตัว รวมถึงอุปทานภาคการเกษตร(ยางพารา) ที่ปรับตัวลดลง ในขณะเดียวกันอุปสงค์ด้านการลงทุนและการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนชะลอตัวลงเช่นเดียวกัน โดยมีรายละเอียดของการวิเคราะห์ในแต่ละภาคเศรษฐกิจการค้า ดังนี้

1. ภาคการบริการและการท่องเที่ยว
การบริการและการท่องเที่ยว : ชะลอตัว พิจารณาจากจำนวนผู้โดยสารผ่านด่าน ตม.ที่หดตัวร้อยละ 1.3ถึงแม้ว่าจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางผ่านท่าอากาศยานภูเก็ตจะขยายตัวร้อยละ 0.75 ก็ตาม แต่การขยายตัวดังกล่าวโดยเปรียบเทียบกับเครื่องชี้อื่นถือว่าน้อยมาก โดยเครื่องชี้วัดดังกล่าวได้แก่ จำนวนเครื่องบินขึ้นลง จำนวนเรือโดยสารและเรือยอชต์ ยอดการจัดเก็บภาษีสนาม-กอล์ฟและภาษีกิจการบันเทิง และปริมาณการใช้ไฟฟ้าในโรงแรม เป็นต้น สำหรับอุปสรรคที่ทำให้ภาพรวมของการท่องเที่ยวชะลอตัว ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวทั่วโลก ความไม่แน่นอนทางการเมือง การแพร่กระจายของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

ตารางเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจภาคนอกการเกษตรสาขาการบริการและการท่องเที่ยว

รายการ
หน่วย
ปี 2550
ปี 2551
ปี 2552
ไตรมาส ปี 2552
Q1
Q2
Q3
Q4
จำนวนผู้ผ่านเข้า-ออกสนามบิน
คน
5,681,750
5,719,706
5,762,745
1,608,895
1,182,715
1,289,260
1,681,875
% ?
ร้อย
ละ
+21.07
+0.67
+0.75
-16.26
-9.18
+12.08
+24.98
- ผู้โดยสารภายในประเทศ
คน
3,505,444
3,319,738
3,488,566
908,811
756,887
834,805
988,063
% ?
ร้อย
ละ
+15.79
-5.30
+5.09
-14.24
-7.77
+14.84
+38.69
- ผู้โดยสารระหว่างประเทศ
คน
2,176,306
2,399,968
2,274,179
700,084
425,828
454,455
693,812
% ?
ร้อย
ละ
+29.88
+10.28
-5.24
-18.76
-11.58
+7.33
+9.56
จำนวนผู้ผ่านด่าน ตม. (ขาเข้า)
คน
1,318,863
1,339,581
1,322,150
378,344
239,340
266,539
437,927
% ?
ร้อย
ละ
+2.29
+1.57
-1.30
-17.35
-9.93
+9.06
+17.81
- ผ่าน ตม. ทางเครื่องบิน *
คน
1,203,770
1,234,222
1,189,700
348,214
213,450
242,981
385,055
% ?
ร้อย
ละ
+2.08
+2.53
-3.61
-18.64
-12.06
+7.08
+14.40
- ผ่าน ตม. ทางเรือ
คน
115,093
105,359
132,450
30,130
25,890
23,558
52,872
% ?
ร้อย
ละ
+4.50
-8.46
+25.71
+1.19
+12.65
+34.74
+50.57

ที่มา : ท่าอากาศยานภูเก็ต , ด่านตม.ภูเก็ต , ด่านตม.ท่าอากาศยานภูเก็ต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552


* เฉพาะผู้โดยสารที่มากับเครื่องเช่าเหมาลำจากต่างประเทศไม่รวมผู้โดยสารที่ผ่านด่านตม.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ


ที่มา : ท่าอากาศยานภูเก็ต

 

 

ตารางแสดงจำนวนนักท่องเที่ยวเดินทางผ่านด่านตม.ท่าอากาศยาน แยกตามสัญชาติ

อันดับ
1
2
3
4
5
รายการ
ออสเตรเลีย
สวีเดน
เกาหลี
จีน
มาเลเซีย
ปี 52
144,659
115,891
114,804
71,400
69,273
%
-2.96
-14.90
-41.48
+10.32
+22.08
ปี 51
149,079
136,181
196,173
64,720
56,742
ปี 50
136,413
123,995
156,943
84,759
72,224
ที่มา : ท่าอากาศยานภูเก็ต

       นักท่องเที่ยวที่เข้ามาผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานภูเก็ตแยกตามสัญชาติในปีนี้สูงสุด คือ นักท่องเที่ยวสัญชาติออสเตรเลีย สวีเดน เกาหลี จีน และมาเลเซีย ตามลำดับ โดยภาพรวมของนักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวในปีนี้เป็นนักท่องเที่ยวสัญชาติเอเซีย นอกจากนี้ หากพิจารณาในรายละเอียดเพิ่มเติมพบว่านักท่องเที่ยวชาวออสเตรเลีย สวีเดน และเกาหลีเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวลดลง แต่นักท่องเที่ยวชาวจีนและมาเลเซียกลับเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา
        สถานการณ์การเดินทางผ่านทางอากาศในปีนี้พบว่ามีจำนวนเที่ยวบินลดลงเล็กน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา รวมทั้งหากพิจารณาการเดินทางทางน้ำพบว่าจำนวนเรือโดยสารที่เข้ามาเทียบท่าลดลง ส่วนจำนวนเรือยอชต์เข้ามาเทียบท่าชะลอตัวด้วยเช่นกัน

รายการ

หน่วย

ปี 2550

ปี 2551

ปี 2552

ไตรมาส ปี 255 2

Q1
Q2
Q3
Q4

เครื่องบินขึ้นลง

เที่ยวบิน

40,809

37,993

37,871

9,781

8,621

8,632

10,837

% ?

ร้อยละ

+31.99

-6.90

-0.32

-19.35

-8.63

+15.57

+20.94

จำนวนเรือโดยสาร ( เรือสำราญ )

ลำ

115

126

106

33

14

15

44

% ?

ร้อยละ

-

+9.57

-15.87

-13.16

-48.15

+7.14

-6.38

จำนวนเรือยอชต์เข้ามา

ลำ

1,131

1,277

1,311

467

174

129

541

% ?

ร้อยละ

-0.88

+12.91

+2.66

+9.37

-4.92

+0.78

+0.37

ที่มา : ท่าอากาศยานภูเก็ต , ด่านศุลกากรภูเก็ต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552



ที่มา ท่าอากาศยานภูเก็ต

 

                        

 

                                                              

จัดทำโดย: กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดภูเก็ต    โทรศัพท์ 076 360700 ต่อ 68052