บทที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด
ความเป็นมา
ขนาดพี้นที่และเขตการปกครอง
ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
การปกครอง ประชากร
การประกอบอาชีพ
การเลือกตั้ง
สมาชิกวุฒิสภา
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
การเลือกตั้งท้องถิ่น
การออกเสียงประชามติ
บทที่ 2 ด้านสังคม
การศึกษา การสาธารณสุข
ศาสนา
ยาเสพติด
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
สวัสดิการสังคม
แรงงานต่างด้าวในจังหวัดภูเก็ต สาธารณภัย
ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้
บทที่ 3 สภาพทางเศรษฐกิจ
ภาวะเศรษฐกิจการค้า
แนวโน้มการท่องเที่ยวในช่วงกลางปี 2553
ด้านแรงงาน
ด้านอุตสาหกรรม
ชุมชนและการรวมกลุ่ม
เกษตรกร
การเกษตรกรรม
โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
บทที่ 4 โครงสร้างพื้นฐาน
คมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน
ป่าไม้
การชลประทาน
โครงการโครงสร้างพื้นฐาน
บทที่ 5 การพัฒนาจังหวัด
ปัญหาและความต้องการ
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
กรอบการดำเนินงาน
ทิศทางการพัฒนา
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ที่ 1
ยุทธศาสตร์ที่ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 3
ยุทธศาสตร์ที่ 4
โครงการและงบประมาณ 2553
สารบัญ
บทที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด
บทที่ 2 ด้านสังคม
บทที่ 3 สภาพทางเศรษฐกิจ
บทที่ 4 โครงสร้างพื้นฐาน
บทที่ 5 การพัฒนาจังหวัด
|
ด้านอุตสาหกรรม
จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดภูเก็ต ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 มีจำนวน 432 โรงงาน มีปริมาณเงินทุนของโรงงานทั้งหมด 432 โรงงาน รวม 7,603.27 ล้านบาท มีจำนวนคนงานรวม 7,073 คน ดังแสดงในตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงสถิติจำนวนโรงงานแยกตามจำพวก
ณ วันที่ 30 กันยายน 255 2
จำพวก |
จำนวน |
ทุน |
คนงาน |
แรงม้า |
1 |
47 |
68,764,460.00 |
390 |
507.73 |
2 |
94 |
296,918,223.00 |
743 |
2,987.60 |
3 |
291 |
7,237,587,330.00 |
5,940 |
1,425.89 |
รวม |
432 |
7,603,270,013.00 |
7,073 |
151,755.22 |
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต
แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิเปรียบเทียบจำนวนโรงงานแยกตามพวก
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต
อำเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่มากที่สุด คือ อำเภอเมือง มีจำนวน 3 2 6 โรงงาน คิดเป็น 75.87 % รองลงมาคืออำเภอถลาง จำนวน 74 โรงงาน คิดเป็น 16.71 % และอำเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่น้อยที่สุดคืออำเภอกะทู้ จำนวน 32 โรงงาน คิดเป็น 7.42 %
อำเภอที่มีเงินทุนของโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดคืออำเภอเมือง จำนวน 4,726,468,062.00 บาท คิดเป็น 73.00 % รองลงมาคืออำเภอถลาง จำนวน 2,223,337,451.00 บาท คิดเป็น 21.00 % อำเภอที่มีเงินทุนโรงงานอุตสาหกรรมน้อยที่สุดคืออำเภอกะทู้ จำนวน 653,464,500.00 บาท คิดเป็น 8.00 %
อำเภอที่มีจำนวนคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดคืออำเภอ เมือง จำนวน 4,826 คน คิดเป็น 67.00 % รองลงมาคืออำเภอถลาง จำนวน 1,902 คน คิดเป็น 29.00 % อำเภอที่มีจำนวนคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมน้อยที่สุดคืออำเภอกะทู้ จำนวน 345 คน คิดเป็น 4.40 % ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2-3 และตารางที่ 2-3
แผนภูมิที่ 2 วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในจังหวัดภูเก็ต
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต
ตารางที่ 2 สถิติจำนวนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการเมื่อเปรียบเทียบปีงบประมาณ 2551 และปีงบประมาณ 2552
รายการ |
2551 |
2552 |
ร้อยละที่ เพิ่ม/-ลด
|
1. จำนวนโรงงาน |
18 |
6 |
-40 % |
2. เงินลงทุน/บาท |
493,136,184.00 |
292,560,000 |
-32.23 % |
3. คนงาน |
226 |
41 |
-70.50 % |
4. แรงม้าเครื่องจักร |
2,908.13 |
973.71 |
-52.36 % |
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต
ตารางที่ 3 แสดงจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดภูเก็ต แยกเป็นรายอำเภอ
ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2552
ที่ |
ชื่ออำเภอ |
จำนวน |
เงินทุน (บาท) |
จำนวนคนงาน |
แรงม้า |
โรงงาน |
ชาย |
หญิง |
รวม |
1 |
เมือง |
326 |
4,726,468,062 |
3,557 |
1,269 |
4,826 |
106,359.56 |
2 |
กะทู้ |
32 |
653,464,500 |
276 |
69 |
345 |
7,123.27 |
3 |
ถลาง |
74 |
2,223,337,451 |
1,275 |
627 |
1,902 |
38,272.39 |
รวม |
432 |
7603270013 |
5,108 |
1,965 |
7,045 |
151,755.22 |
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต
แผนภูมิที่ 3 แสดงจำนวนโรงงานในจังหวัดภูเก็ต แยกเป็นรายอำเภอ
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต
หมวดโรงงานอุตสาหกรรมประเภทอุตสาหกรรมขนส่ง เช่น กิจการเกี่ยวกับอู่ต่อ/ซ่อมเรือ ซ่อมรถยนต์ และซ่อมรถจักรยานยนต์ เป็นต้นมีจำนวนโรงงานมากที่สุดจำนวน 84 โรงงาน คิดเป็น 19.53 % รองลงมาคือ อุตสาหกรรมอโลหะ จำนวน 53 โรงงาน คิดเป็น 12.32 % เช่นผลิตภัณฑ์คอนกรีต เสาเข็ม แผ่นพื้น เป็นต้น และประเภทอุตสาหกรรมเครื่องแต่งกาย จำนวน 1 โรงงาน คิดเป็น 0.23 % ซึ่งถือว่าเป็นประเภทที่มีจำนวนโรงงานน้อยที่สุดในจังหวัดภูเก็ตในปีงบประมาณ 2552
หมวดอุตสาหกรรมขนส่ง มีจำนวนแรงงานมากที่สุด จำนวน 1,125 คน คิดเป็น 15.97 % รองลงมาคืออุตสาหกรรมอาหาร จำนวน 1,006 คน คิดเป็น 14.28 % ส่วนอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและผลิตภัณฑ์มีจำนวนแรงงานน้อยที่สุดมีเพียง จำนวน 7 คน คิดเป็น 0.10 % ดังแสดงในตารางที่ 4
ตารางที่ 4 แสดงจำนวนโรงงานแยกตามหมวดอุตสาหกรรม (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2552)
ที่ |
รายการ |
จำนวน/
โรงงาน |
เงินลงทุน/บาท |
|
แรงม้า |
|
|
|
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20 |
อุตสาหกรรมการเกษตร
อุตสาหกรรมอาหาร
อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
อุตสาหกรรมสิ่งทอ
อุตสาหกรรมเครื่องแต่งกาย
อุตสาหกรรมเครื่องหนัง
อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้
อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน
อุตสาหกรรมกระดาษและผลิตภัณฑ์จากกระดาษ
อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์
อุตสาหกรรมเคมี
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมยาง
อุตสาหกรรมพลาสติก
อุตสาหกรรมอโลหะ
อุตสาหกรรมโลหะ
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ
อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล
อุตสาหกรรมไฟฟ้า
อุตสาหกรรมขนส่ง
อุตสาหกรรมอื่น ๆ |
6
41
1 3
3
1
0
38
27
4
14
0
2
11
7
53
7
40
39
5
84
38 |
274,246,300
1,445,716,136
289,590,000
191,650,000
4,800,000
0
287,357,500
64,624,600
52,810,000
68,995,500
0
110,000,000
542,391,500
138,350,000
1,093,488,220
1,220,720,000
95,212,660
93,579,267
10,161,000
846,771,644
772,805,686 |
12
710
41
7
3
0
522
570
44
96
0
7
298
79
559
207
222
230
38
1,071
392 |
74
296
98
257
22
0
77
100
16
42
0
0
343
35
121
53
17
1
80
54
279 |
86
1,006
139
264
25
0
599
670
60
138
0
7
641
114
680
260
239
231
118
1,125
673 |
400.79
62,256.30
221.59
248.27
5.00
0
4,001.81
1,113.16
393.84
371.12
0.00
2,017.42
23,044.41
2,329.27
9,487.13
15,891.83
2,837.94
1,997.29
119.13
7,615.15
17,403.09 |
|
รวม |
432 |
7,603,270,013 |
5,108 |
1,965 |
7,073 |
151,755.22 |
ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต
ข้อมูลด้านเหมืองแร่
1. ประทานบัตร จำนวน 1 แปลง
2. สถานประกอบโลหกรรม จำนวน 1 ราย
3. สถานที่เก็บแร่ จำนวน 1 ราย
4. สถานที่ซื้อแร่ จำนวน 2 ราย
5. สถานที่แต่งแร่ จำนวน 3 ราย
6. สถานที่มีแร่ไว้ในครอบครอง จำนวน 12 ราย
หมายเหตุ : สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต โทร : 0 7621 6918, www.industry.go.th/ops/pio/phuket
|